กิจกรรมการประเมินและคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริการจัดการที่ดี ประจำปี ๒๕๕๗
วันอังคารที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2558
โครงการประกวดค่านิยมหลัก๑๒ ประการ ของคนไทย
กศน.อำเภอนาหมื่น นำโดย นางศรวณี อ่อนสำอาง ครู รักษาการ ผอ.อำเภอนาหมื่น พร้อมคณะครูและนักศึกษา กศน. เข้าร่วมกิจกรรม ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมประกวดร้องเพลงค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ คือนายทนงศักดิ์ มาลี นักศึกษา กศน.ตำบลนาทะนุง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ และได้ส่งเสริมกลุ่มอาชีพ การทำการบูรหอม เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้ร่วมงาน ในวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ณ หน้าศูนย์กาแฟภูฟ้า จ.น่านวันอังคารที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558
โครงการอบรม
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาฐานการเรียนรู้ออนไลน์ ด้วย blogger การสร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์ และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่าน Social Network
รุ่นที่ 3 : วันที่ 2-3 มีนาคม 2558
ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา น่าน
รุ่นที่ 3 : วันที่ 2-3 มีนาคม 2558
ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา น่าน
Bast Practice
โครงการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
สถานที่ดำเนินการ บ้านน้ำกึ๋น ม.10 ต.นาทะนุง อ.นาหมื่น จ.น่าน
โครงการ
การเลี้ยงไก่พันธุ์ เกิดจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพของประชาชน
และพบว่าประชาชนบ้านน้ำกึ๋นมีความต้องการศึกษาอาชีพ การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ กศน.ตำบลนาทะนุง
จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการเพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้
และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ตามความต้องการ
โดยจัดกิจกรรมระหว่าง วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 ถึง 21 พฤษภาคม 2557
ณ บ้านน้ำกึ๋น หมู่ที่ 5 ตำบลนาทะนุง อำเภอนาหมื่น
จังหวัดน่าน เป็นโครงการที่ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอนาหมื่นเป็นหน่วยงานต้นสังกัดที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้
และมีทักษะในการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ การมีไข่ไก่ไว้บริโภคในครัวเรือน และจำหน่าย
เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว และเป็นการส่งเสริมอาชีพให้กับคนในชุมชน
ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ใช้วิทยากรภายใน คือ นายธนากร ศรีแก้ว ( ครู กศน.ตำบล )
เป็นวิทยากรให้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน
ผลการประเมินจากแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน 30 ฉบับ
พบว่าผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในกิจกรรม โครงการภาพรวมในระดับ 4.24 จาก 5 เมื่อแยกในแต่ละด้าน
พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมสอดคล้องต่อการดำเนินชีวิตของผู้เรียน
มากที่สุด คิดเป็นคะแนนเท่ากับ 4.50 จาก 5 และรองลงมา คือกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจหรือมีทักษะตามจุดประสงค์ของหลักสูตร
คิดเป็นคะแนนเท่ากับ 4.33 จาก 5 และการจัดกิจกรรมทำให้ผู้รับบริการสามารถคิดเป็นทำเป็น
แก้ปัญหาเป็นได้ คิดเป็นคะแนนเท่ากับ 4.27 จาก 5 ตามลำดับ
ผลการติดตามผู้สำเร็จหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
โครงการ การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ระหว่าง วันที่ 26 พฤษภาคม 2557 ถึง 7 มิถุนายน
2557 พบว่าผู้ร่วมโครงการจำนวน 30 คน
จบหลักสูตร จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีผู้เรียนได้คะแนนร้อยละ 80 – 100 ระดับผลการเรียน
4 ดีเยี่ยม จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมาคือ คะแนน 75- 79 ระดับผลการเรียน 3.5
ดีมาก จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 คะแนน 70-74 ระดับผลการเรียน 3 ดี จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
ความรู้ความสามารถ
|
ที่อยู่
|
1. นางสมนึก โนหลักหมื่น
|
ทอผ้าพื้นเมือง
|
บ้านหลักหมื่น หมู่ 1 ต.นาทะนุง
|
2. นายถาวร กุลวรหทัย
|
ภาษาล้านนา (ตั๋วเมือง) หมอสู่ขวัญ
สะเดาะเคราะห์
|
บ้านนาทะนุง หมู่ 3 ต.นาทะนุง
|
3. นายมา น้ำหล่าย
|
ช่างตีเหล็ก
|
บ้านนาทะนุง หมู่ 3 ต.นาทะนุง
|
4. นายหยัน ฟูบินทร์
|
เศรษฐกิจพอเพียง
|
บ้านหลักหมื่น หมู่ 1 ต.นาทะนุง
|
4. 5 นายเปล่ง วิชัยต๊ะ
|
เศรษฐกิจพอเพียง
|
บ้านห้วยเสียม หมู่ 2 ต.นาทะนุง
|
ประเภททรัพยากรธรรมชาติ
ชื่อแหล่งเรียนรู้
|
ประเภทแหล่งเรียนรู้
|
ที่ตั้ง
|
หมู่บ้านประมงปากนาย
|
แหล่งน้ำเพื่อการท่องเที่ยว
|
บ้านปากนาย หมู่ 17
ต.นาทะนุง
|
ชื่อแหล่งเรียนรู้
|
ประเภทแหล่งเรียนรู้
|
ที่ตั้ง
|
วัดนาทะนุง
|
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
|
หมู่ 4 ต.นาทะนุง อ.นาหมื่น จ.น่าน
|
วัดดอนมูล
|
แหล่งเรียนรู้ด้านโบราณสถาน-วัตถุ
|
หมู่ 14 ต.นาทะนุง อ.นาหมื่น จ.น่าน
|
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านนาทะนุง
|
ผลิตภัณฑ์จากผ้า
|
หมู่ 3 ต.นาทะนุง อ.นาหมื่น จ.น่าน
|
กลุ่มทอผ้าผู้สูงอายุบ้านหลักหมื่น
|
เยี่ยมชมวิถีชีวิตของคนเมือง ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านด้านทอผ้า
|
หมู่ 1 ต.นาทะนุง อ.นาหมื่น จ.น่าน
|
ข้อมูลพื้นฐาน ตำบลนาทะนุง
ข้อมูลพื้นฐาน
1. สภาพทางกายภาพของชุมชน (ตำบล/แขวง)
1.1. ขนาดพื้นที่ ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ
ตำบลนาทะนุง มีเนื้อที่ทั้งหมด 399 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 247,380 ไร่ เป็นตำบลที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอนาหมื่นและส่วนราชการอื่นๆ ของอำเภอนาหมื่น
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลบ่อแก้ว อำเภอนาหมื่น
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลปิงหลวง อำเภอนาหมื่น
และอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์
ทิศตะวันออก ติดกับ อำเภอบ้านฟากท่า จังหวัดอุตรดิตถ์
ทิดตะวันตก ติดกับ ตำบลปิงหลวงและตำบลเมืองลี อำเภอนาหมื่น
1.2 ลักษณะกายภาพ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ มีสภาพพื้นที่เป็นป่าเขาสูงชัน มีป่าไม้กระจัดกระจายทั่วไป มีที่ราบน้อย ประมาณร้อยละ 3 ของพื้นที่ทั้งหมด




1.3 โครงสร้างพื้นฐาน
ประชากรส่วนใหญ่ในเขตตำบลนาทะนุง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม สภาพความเป็นอยู่โดยรวมแล้วอยู่ในระดับดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในการปฏิบัติกิจทางศาสนาและการรวมกลุ่มจัดงานประเพณี หรือวันสำคัญในตำบลทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมเกิดความสามัคคีขึ้นในตำบล
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
ผู้นำชุมชน
|
จำนวน
ครัวเรือนทั้งหมด
|
จำนวนประชากร(คน)
| ||
ชาย
|
หญิง
|
ทั้งหมด
| ||||
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
|
บ้านหลักหมื่น
บ้านห้วยเสียม
บ้านนาทะนุง
บ้านหนองบัว
บ้านหัวทุ่ง
บ้านค้างอ้อย
บ้านนาตอง
บ้านห้วยเลา
บ้านห้วยนาย
บ้านน้ำกึ๋น
บ้านสันติสุข
บ้านห้วยฮ้อ
บ้านทุ่งศรี
บ้านดอนมูล
บ้านเขาแก้ว
บ้านสันป่าสัก
บ้านปากนาย
|
นายวิโรจน์ ต๊ะนา
นายประเสริฐ วิชัยต๊ะ
นายสมฤทธิ์ ตันปัน
นายเกษม ขันใจ
นานพิพัฒน์ อินนันใจ
นายสว่าง ขันกา
นายพิชวน กะจันทร์
นายสรศักดิ์ ธะนะปัด
นายวสันต์ สุยะตา
นายกถิน ทิพย์ลุ้ย
นายสมคิด ยะชุ่ม
นางสมจิตร ทิพย์ลุ้ย
นายนำ ธิเขียว
นายสินวัต โพธิขาว
นายนิคม สุทำเลา
นายบุญมี พรมผัด
นายชะลอ แถมชัยประเสริฐ
|
73
49
149
69
87
94
62
84
43
46
39
60
57
52
40
56
75
|
106
81
206
114
148
136
113
158
92
90
63
97
104
85
62
100
88
|
124
75
211
105
132
157
104
141
75
78
73
99
99
69
62
93
88
|
230
156
417
219
280
293
217
299
167
168
136
196
203
154
124
193
176
|
รวม
|
1,135
|
1,843
|
1,785
|
3,628
|
ข้อมูลจาก : ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2557
1.4 การคมนาคมติดต่อสื่อสาร
การคมนาคม
· ถนนลูกรัง จำนวน 18 สาย ความยาว 11,585 เมตร
· ถนนคอนกรีต จำนวน 17 สาย ความยาว 20,665 เมตร
· ถนนลาดยาง จำนวน 5 หมู่บ้านความยาว 38,000 เมตร
· ถนนขนถ่ายผลผลิตเพื่อการเกษตร ความยาว 7,000 เมตร
การโทรคมนาคม
· โทรศัพท์สาธารณะ 19 แห่ง
· ตู้ไปรษณีย์ 5 ตู้
· โทรศัพท์ประจำบ้าน 120 แห่ง
2. สภาพทางสังคม – ประชากร
จำนวนหลังคาเรือน 1,437 หลังคาเรือน และมีประชากร ทั้งสิ้น 3,628 คน แยกเป็น ชาย 1,843 คน หญิง 1,785 คน รวม 3,628 คน
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
จำนวน
ครัวเรือนทั้งหมด
|
จำนวนประชากร(คน)
| ||
ชาย
|
หญิง
|
ทั้งหมด
| |||
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
|
บ้านหลักหมื่น
บ้านห้วยเสียม
บ้านนาทะนุง
บ้านหนองบัว
บ้านหัวทุ่ง
บ้านค้างอ้อย
บ้านนาตอง
บ้านห้วยเลา
บ้านห้วยนาย
บ้านน้ำกึ๋น
บ้านสันติสุข
บ้านห้วยฮ้อ
บ้านทุ่งศรี
บ้านดอนมูล
บ้านเขาแก้ว
บ้านสันป่าสัก
บ้านปากนาย
|
73
49
149
69
87
94
62
84
43
46
39
60
57
52
40
56
75
|
106
81
206
114
148
136
113
158
92
90
63
97
104
85
62
100
88
|
124
75
211
105
132
157
104
141
75
78
73
99
99
69
62
93
88
|
230
156
417
219
280
293
217
299
167
168
136
196
203
154
124
193
176
|
รวม
|
1,135
|
1,843
|
1,785
|
3,628
|
ข้อมูลจาก : ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2557
ที่
|
ช่วงอายุประชากร
|
จำนวนชาย (คน)
|
จำนวนหญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
1
|
น้อยกว่า 1 ปี เต็ม
|
9
|
6
|
15
|
2
|
1 ปีเต็ม – 2 ปี
|
28
|
32
|
60
|
3
|
3 ปีเต็ม – 5 ปี
|
44
|
50
|
94
|
4
|
6 ปีเต็ม – 11 ปี
|
111
|
114
|
225
|
5
|
12 ปีเต็ม – 14 ปี
|
63
|
76
|
139
|
6
|
15 ปีเต็ม – 17 ปี
|
77
|
82
|
159
|
7
|
18 ปีเต็ม – 25 ปี
|
143
|
149
|
292
|
8
|
26 ปีเต็ม – 49 ปี
|
625
|
595
|
1,220
|
9
|
50 ปีเต็ม – 60 ปี
|
405
|
369
|
774
|
10
|
มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป
|
338
|
312
|
650
|
รวมทั้งสิ้น
|
1,843
|
1,785
|
3,628
|
ข้อมูลจาก : ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2557
2.2. ศาสนา ชาติพันธุ์ และระดับการศึกษา
· ศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
· ภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น ภาษาเหนือ
· ความเชื่อ เชื่อตามคำสอนของผู้ใหญ่ และเชื่อในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธ ศาสนา
· ขนบธรรมเนียมประเพณี
· ประเพณีทำบุญตักบาตรเนื่องในวันสำคัญต่างๆทางศาสนา ประเพณีที่มีนอกเหนือจากวันสำคัญที่มีขึ้นทุกปีในพื้นที่ ได้แก่ ประเพณีสู่ขวัญข้าว ประเพณีตานข้าวใหม่ ประเพณีสรงน้ำปู่เทพเป็นต้น
ที่
|
ศาสนา
|
ชาย (คน)
|
หญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
1
|
พุทธ
|
1,842
|
1,783
|
3,625
|
2
|
คริสต์
|
1
|
2
|
3
|
3
|
อิสลาม
| |||
4
|
ฮินดู
| |||
5
|
อื่นๆ
| |||
รวม
|
1,843
|
1,785
|
3,628
|
จากการสำรวจข้อมูล จปฐ.ปี๒๕๕๗
ระดับการศึกษาของประชากรตำบลนาทะนุงพบว่าส่วนใหญ่จบการศึกษาภาคบังคับ โดยแยกตามระดับได้ดังนี้
ที่
|
ระดับการศึกษา
|
จำนวนชาย (คน)
|
จำนวนหญิง (คน)
|
รวม (คน)
|
1
|
ไม่เคยศึกษา
|
145
|
165
|
310
|
2
|
อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก
|
69
|
82
|
151
|
3
|
ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษา
|
85
|
90
|
175
|
4
|
จบชั้นประถมศึกษา
|
951
|
905
|
1,856
|
5
|
มัธยมศึกษาตอนต้น
|
213
|
169
|
382
|
6
|
มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
278
|
259
|
537
|
7
|
อนุปริญญา หรือ เทียบเท่า
|
50
|
36
|
86
|
8
|
ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า
|
50
|
77
|
127
|
9
|
สูงกว่าปริญญาตรี
|
2
|
2
|
4
|
รวม
|
1,843
|
1,785
|
3,628
|
3. สภาพทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างฐานอาชีพของชุมชน รายได้เฉลี่ยของประชากร
3.1 อาชีพ
3.1 อาชีพ
โครงสร้างฐานอาชีพของชุมชน รายได้เฉลี่ยของประชากร
§ ประกอบอาชีพหลัก คือ การเกษตรกรรมประเภท ทำนา ทำไร่ ทำสวน เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อย ละ 95
§ ประกอบอาชีพรอง คือ รับจ้างทั่วไป ทำงานบริษัท โรงงานอุตสาหกรรม ค้าขาย คิดเป็น ร้อยละ 3
§ ประกอบอาชีพอื่นๆ เช่น รับราชการ รัฐวิสาหกิจ ละธุรกิจส่วนตัว มีเป็นส่วนน้อย คิดเป็นร้อยละ 2
3.2 หน่วยธุรกิจ ในเขต
· สหกรณ์การเกษตร 1 แห่ง
· ปั้มน้ำมัน 2 แห่ง ปั้มหลอด 6 หลอด
· โรงสีข้าว 8 แห่ง
· ร้านซ่อมรถ 6 แห่ง
· ร้านค้า 38 แห่ง
· ร้านค้าชุมชน 13 แห่ง
· ร้านค้าชุมชน 13 แห่ง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)